Managing Assets
1.
Asset::add('jquery', 'js/jquery.js',’dependencie’);
Function add พารามิเตอร์ตัวแรกคือ ชื่อของไฟล์ , ตัวที่สองคือเส้นทางที่อยู่ของไฟล์โดย
ตัวที่สามอยู่ข้างล่างครับ
เริ่มจากโฟลเดอร์ public, ตัวฟังชันจะตรวจสอบเองว่าไฟล์ที่เพิ่มเข้ามาเป็นนามสกุลอะไร
เวลาใช้ในหน้า view ก็ใช้กันแบบนี้
1.
<head>
2.
<?php echo Asset::styles(); ?>
3.
<?php echo Asset::scripts(); ?>
4.
</head>
จะมีกรณีที่ไฟล์ที่เราใช้ มันต้องการไฟล์ตัวอื่นด้วยถึงจะใช้ได้ วิธีใช้ก็ใส่เป็นพารามิเตอร์ตัวที่สามของฟังก์ชัน add ครับ
1.
Asset::add('jquery-ui', 'js/jquery-ui.js', 'jquery');
จากตัวอย่างข้างบน เมื่อประกาศ jquery-ui มันต้องมี jquery ตัวหลักด้วยถึงจะใช้ได้ เราก็จับใส่เป็นพารามิเตอร์ตัวที่สามเลย
ทีนี้เวลาเรียกใช้ jquery-ui laravel มันก็จะรียกประกาศ jquery ให้ก่อน สะดวกไหมครับ
ทีนี้เวลาเรียกใช้ jquery-ui laravel มันก็จะรียกประกาศ jquery ให้ก่อน สะดวกไหมครับ
Asset Containers
ปกติเราจะวาง javascript ไว้ข้างล่างสุดของหน้าเว็บ
เพื่อหน้าเว็บจะได้โหลดเร็วขึ้น
แต่ก็มีบางไฟล์ที่ต้องทำการตอนเริ่มการโหลดหน้าเว็บ laravel ก็มีฟังชันที่ให้เราเลือกตำแหน่งที่จะวางไฟล์ได้
เราจะวาง example.js ไว้ตรง footer นะครับ
1.
Asset::container('footer')->add('example', 'js/example.js');
เวลาประกาศในหน้า view ก็ประกาศแบบนี้แหละครับ
1.
echo Asset::container('footer')->scripts();
อย่างที่บอกไปข้างต้นที่อยู่ของไฟล์ที่ Laravel จะไปจับเอาไฟล์มาคือ โฟลเดอร์ public แต่ ถ้าเราอย่างจะดึงไฟล์ของ bundle บ้างก็ทำตามข้างล่างนี้เลยครับ
1.
Asset::container('foo')->bundle('admin');
ทีนี้ laravel จะเชื่อมไปยังโฟลเดอร์ public ของ bundle ละครับ บทนี้สั้นๆ นะครับ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น